บทสรุปของพืชกระท่อม
บทสรุปของพืชกระท่อม
พืชกระท่อม (Mitragyna speciosa (Korth.) Havil.) เป็นไม้ยืนต้นที่เป็นพืชถิ่นพบในบริเวณแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชอบขึ้นในบริเวณป่าดิบชื้น ริมลำธาร ในประเทศไทยพบมากในภาคใต้ โดยชาวบ้านปลูกภายในบริเวณบ้าน ในร่องสวนหรือทุ่งนาและในป่าธรรมชาติ นอกจากนั้นยังพบได้ในภาคกลาง เช่น จังหวัดปทุมธานี และอยุธยา เป็นต้น ใบกระท่อมมีชื่อเรียกตามภาษาถิ่นในประเทศไทยหลายชื่อ เช่น อีถ่าง ท่อม กระทุ่มโคก คอยโคน จากการสำรวจคุณภาพชีวิตและสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนเพื่อประมาณการจำนวนประชากรที่เกี่ยวข้องกับสารเสพติด พ.ศ. 2562 ซึ่งสำรวจประสบการณ์ใช้สารเสพติดชนิดต่าง ๆ ในประชากรอายุ 12-65 ปีทั่วประเทศ พบว่าใบกระท่อมเป็นสารเสพติดที่มีจำนวนผู้ใช้ใน 30 วันที่ผ่านมามากเป็นอันดับสามรองจากกัญชาและยาบ้า และใช้สูงสุดในภาคใต้
ผู้วิจัยและเรียบเรียง
- สาวิตรี อัษณางค์กรชัย
- อาภา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา
- ไพศาล ลิ้มสถิตย์
- นิวัติ แก้วประดับ
- สมสมร ชิตตระการ
- จุไรทิพย์ หวังสินทวีกุล
- เอกสิทธิ์ กุมารสิทธิ์
- สมชาย ศรีวิริยะจันทร์
- ดาร์เนีย เจ๊ะหะ
- วัชรพงศ์ พุ่มชื่น
- ดาริกา ใสงาม
บรรณาธิการ
- สมสมร ชิตตระการ
จัดพิมพ์โดย
- ศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์หาดใหญ่ สงขลา
สนับสนุนโดย
- ศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด
- สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ ISBN : 978-616-271-592-1 พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรกฎาคม 2563) จำนวน 500 เล่ม
ออกแบบรูปเล่มและพิมพ์ที่ ลีโอ ดีไซน์ แอนด์ พริ้นท์ (จ.สงขลา)
บทความที่เกี่ยวข้อง
- รายงานการวิจัยเอกสารนโยบายและการจัดการปัญหากัญชา: กรณีศึกษาประเทศอังกฤษและประเทศสหรัฐอเมริกา
- การติดตามความเคลื่อนไหวด้านอุปสงค์ อุปทาน สารเสพติด บนโลกออนไลน์
- พลังสุขภาพจิตในผู้ติดยาเสพติดหญิง: การวิจัยแบบผสานวิธีพหุระยะ เพื่อพัฒนาเครื่องมือวัดและประสิทธผลการปรึกษา ทางจิตวิทยาแบบกลุ่มบูรณาการ
- เยาวชนบนเส้นด้าย
- สรุปบทเรียน “กระบวนการติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสพ/กลุ่มเสี่ยง และครอบครัว”
- การใช้ยารักษาโรคแบบผิดแผน: ความรู้เบื้องต้นและสถานการณ์ปัญหาในประเทศไทย
- ทันสารเสพติด (ฉบับประชาชน)
- ไม่ได้เล่นคนเดียว แม่เสพลูกติดด้วย
- เทคนิคการสำรวจเพื่อประมาณค่าประชากรกลุ่มเสี่ยงที่เข้าถึงยาก
- คู่มือการดูแลตัวเองเพื่อ ลด ละ เลิกสารเสพติด