รายงานวิจัย พัฒนาระบบเฝ้าระวังเพื่อลดการใช้สารเสพติดในกลุ่มนักเรียน โดยกระบวนการมีส่วนร่วมในจังหวัดเพชรบูรณ์ ปี 2564-2565
เมื่อ : 2023-06-07 11:16:01
อ่านแล้ว: 1446 ครั้ง
ชื่อไฟล์ที่สามารถดาวโหลดได้ (คลิกเพื่อดาวน์โหลด)
ช่วงอายุที่พบว่าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากที่สุดคือ
เด็กและเยาวชนอายุระหว่าง 15-19 ปี รองลงมากลุ่มอายุ 20-24 ปี กลุ่มอายุ 25-29 ปี และกลุ่มอายุ 30-34 ปี ตามลำดับ
รูปแบบการเฝ้าระวังยาเสพติดที่นักเรียนยอมรับได้
- พูดคุยทำความเข้าใจ และเข้าถึงกลุ่มผู้เสพโดยกำนันและผู้ใหญ่บ้าน
- การให้ความรู้ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด และกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด ให้แก่แกนนำชมรมนักเรียน
- บำบัด พูดคุยบนฐานของชุมชน
ที่มา: โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังเพื่อลดการใช้สารเสพติดในกลุ่มนักเรียน โดยกระบวนการมีส่วนร่วมในจังหวัดเพชรบูรณ์ ปี 2564-2565
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นฤมล จันทร์มา
บทความที่เกี่ยวข้อง
- โครงการวิจัยเอกสารนโยบายและการจัดการปัญหากัญชาในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอังกฤษ
- โครงการติดตามความเคลื่อนไหวด้านอุปสงค์ อุปทาน สารเสพติดบนโลกออนไลน์
- โครงการพลังสุขภาพจิตในผู้ติดยาเสพติดหญิงที่อยู่ในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ : การพัฒนาเครื่องมือวัดแบบผสานวิธีวิจัยและประสิทธิผลของการปรึกษาทางจิตวิทยาแบบกลุ่มบูรณาการ
- การสร้างรูปแบบการป้องกันการเสพยาบ้าซ้ำในกลุ่มผู้ผ่านการบำบัดในพื้นที่ที่มีการระบาดของยาบ้า จังหวัดสุโขทัย
- การวิเคราะห์สภาพการณ์ปัจจุบันและอนาคตภาพของปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยภูมิคุ้มกันที่มีต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดของเด็กและเยาวชนในพื้นที่หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง (อพป.)
- การประเมินผลการดำเนินงานลดอันตรายจากการใช้สารเสพติด (Harm Reduction) ในกลุ่มประชากรที่เสพยาเสพติดด้วยวิธีการฉีด
- ถอดบทเรียนเพื่อศึกษารูปแบบการเฝ้าระวังการป้องกันปัญหายาเสพติดโดยภาคประชาชน
- รูปแบบการป้องกันปัญหายาเสพติดโดยใช้มัสยิดเป็นศูนย์กลาง : กรณีศึกาชุมชนมัสยิดบ้านเหนือ ต.คูเต่า อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา และชุมชนมัสยิดบ้านลุ่ม ต.ปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
- การพัฒนาชุดโครงการเพื่อพัฒนารวัตกรรมปลอดยาเสพติดด้วยวิถีอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
- ถอดบทเรียนกระบวนการของชุมชนต่อการบำบัด ฟื้นฟู ป้องกัน เยาวชนจากสารเสพติด