การประเมินผลการดำเนินงานลดอันตรายจากการใช้สารเสพติด (Harm Reduction) ในกลุ่มประชากรที่เสพยาเสพติดด้วยวิธีการฉีด
เมื่อ : 2019-09-03 11:25:09
อ่านแล้ว: 1739 ครั้ง
ชื่อไฟล์ที่สามารถดาวโหลดได้ (คลิกเพื่อดาวน์โหลด)
การประเมินผลการดำเนินงานลดอันตรายจากการใช้สารเสพติด (Harm Reduction) ในกลุ่มประชากรที่เสพยาเสพติดด้วย
โดย ผศ.ดร.จิตรลดา อารีย์สันติชัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์
- เพื่อประเมินผลการให้บริการลดอันตรายจากการใช้สารเสพติด (Harm Reduction) ในระดับจังหวัดทั่วประเทศ ในกลุ่มผู้ที่เสพยาเสพติดด้วยวิธีการฉีด
- ศึกษากลุ่มผู้ที่เสพยาเสพติดด้วยวิธีการฉีดในกลุ่มผู้ที่เสพยาเสพติดด้วยวิธีการฉีดในเรื่องต่อไปนี้ ปริมาณ ความถือ ชนิดยาเสพติดที่เสพ, อัตราการฉีดสารเสพติดและการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน, การเปลี่ยนรูปแบบการใช้ยาเพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ, การเข้ารับการบำบัดรักษา, อัตราการติดเชื้อ, อัตราการถูกจับกุมในเรื่องของสารเสพติด, อัตราการเกิดอาชญากรรมอันเป็นผลจากการใช้สารเสพติด
- ศึกษาการให้บริการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติดในกลุ่มผู้ให้บริการทั้งภาครัฐและเอกชนในเรื่องต่อไปนี้ การเข้าถึงประชากรผู้เสพยา การดำเนินงาน, กระบวนการให้บริการ, ความเหมาะสมและความพอเพียงของทรัพยากรที่จะใช้ในการดำเนินโครงการที่ครอบคลุมด้านงบประมาณ บุคลากร วัสดุ อุปกรณ์ รวมถึงแผนการดำเนินงานที่วางไว้, ความสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานและความสอดคล้องกัลป์วัตถุประสงค์, ความคาดหวังในการทำงานเรื่องการลดอันตรายในอนาคต
บทความที่เกี่ยวข้อง
- โครงการวิจัยเอกสารนโยบายและการจัดการปัญหากัญชาในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอังกฤษ
- โครงการติดตามความเคลื่อนไหวด้านอุปสงค์ อุปทาน สารเสพติดบนโลกออนไลน์
- โครงการพลังสุขภาพจิตในผู้ติดยาเสพติดหญิงที่อยู่ในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ : การพัฒนาเครื่องมือวัดแบบผสานวิธีวิจัยและประสิทธิผลของการปรึกษาทางจิตวิทยาแบบกลุ่มบูรณาการ
- การสร้างรูปแบบการป้องกันการเสพยาบ้าซ้ำในกลุ่มผู้ผ่านการบำบัดในพื้นที่ที่มีการระบาดของยาบ้า จังหวัดสุโขทัย
- การวิเคราะห์สภาพการณ์ปัจจุบันและอนาคตภาพของปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยภูมิคุ้มกันที่มีต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดของเด็กและเยาวชนในพื้นที่หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง (อพป.)
- การประเมินผลการดำเนินงานลดอันตรายจากการใช้สารเสพติด (Harm Reduction) ในกลุ่มประชากรที่เสพยาเสพติดด้วยวิธีการฉีด
- ถอดบทเรียนเพื่อศึกษารูปแบบการเฝ้าระวังการป้องกันปัญหายาเสพติดโดยภาคประชาชน
- รูปแบบการป้องกันปัญหายาเสพติดโดยใช้มัสยิดเป็นศูนย์กลาง : กรณีศึกาชุมชนมัสยิดบ้านเหนือ ต.คูเต่า อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา และชุมชนมัสยิดบ้านลุ่ม ต.ปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
- การพัฒนาชุดโครงการเพื่อพัฒนารวัตกรรมปลอดยาเสพติดด้วยวิถีอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
- ถอดบทเรียนกระบวนการของชุมชนต่อการบำบัด ฟื้นฟู ป้องกัน เยาวชนจากสารเสพติด