โครงการวิจัย ปี 2564

เมื่อ : 2024-04-18 14:34:33 อ่านแล้ว: 68 ครั้ง
ชื่อไฟล์ที่สามารถดาวโหลดได้ (คลิกเพื่อดาวน์โหลด)

โครงการวิจัย ปี 2564

  1. โครงการสำรวจทัศนคติและพฤติกรรมการใช้สารเสพติด: กรณีศึกษาประชาชนอายุ 18 - 65 ปี ใน 20 จังหวัดทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ
    นักวิจัย : ดร.สุริยัน บุญแท้
    สถาบันสังกัด : ศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาสังคมและธุรกิจ       

     
  2. ความปกติที่ต้องต่อรองของ “ฮูกุมปากัต” : กฎเกณฑ์สังคมกับการป้องกันปัญหาการใช้สารเสพติดชุมชนมุสลิมในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 จังหวัดชายแดนภาคใต้
  3. ผลของโปรแกรมเสริมสร้างทักษะชีวิตต่อทักษะชีวิตและพฤติกรรมเสี่ยงในการติดสื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นตอนต้น
  4. ความชุกและความสัมพันธ์ระหว่างการติดเกมมือถือ และภาวะซึมเศร้า ความรู้สึก ว้าเหว่ความวิตกกังวลทางสังคม และผลการเรียนของเยาวชนในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
  5. ความชุกของการใช้บุหรี่ไฟฟ้าและความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้กัญชา และการสูบบุหรี่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดเพชรบูรณ์
  6. ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ต่อพฤติกรรมการใช้สารเสพติด การค้นหา และการเข้าถึงบริการสุขภาพ กรณีศึกษาจากพื้นที่ 5 จังหวัดภายใต้การดําเนินงานของกลุ่ม APASS
  7. การทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับกัญชาและสารประกอบของกัญชา และโรคโควิด-19
  8. การศึกษาแนวทางการป้องกันและลดผลกระทบจากการเสพติดเกมออนไลน์ในกลุ่มเยาวชน
  9. ความรู้ความเข้าใจและความตระหนักของผู้ประกอบการร้านอาหารและวิสาหกิจชุมชนต่อมาตรการทางกฎหมายและกรรมวิธีการผลิตอาหารที่มีกัญชาเป็นส่วนผสม
  10. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระบบการสนับสนุนการฟื้นตัวอยู่ในสังคมของเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาการเสพติด: การวิจัยผสานวิธี
  11. การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้กระท่อมบําบัดผู้ป่วยสารเสพติดเมทแอมเฟตามีน ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา
  12. มาตรการทางกฎหมายในการพัฒนาผลิตภัณฑ์กัญชาเพื่อการบริโภคอย่างปลอดภัย
  13. การประเมินผลการนำมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหายา/สารเสพติดไปใช้ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
  14. ความชุกของการติดเกมออนไลน์ และความสัมพันธ์กับอาการปวดกล้ามเนื้อและกระดูก ภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวลและความว้าเหว่ ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อโคโรน่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่ 2019 ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดเพชรบูรณ์
  15. การใช้สารเสพติดและการตกเป็นเหยื่อในสถานศึกษาของกลุ่มนักศึกษาที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTIQN) ในมหาวิทยาลัยในเขตภาคเหนือตอนล่าง
  16. แบบแผนการใช้และผลกระทบในด้านต่าง ๆ ในผู้ใช้ไอซ์ : กรณีศึกษาในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
  17. การสร้างอัตลักษณ์ของเยาวชนในสถานศึกษาผ่านวาทกรรม “สารเสพติดคือทางออก” 
  18. การวิเคราะห์ปริมาณ Δ9-THC ในเครื่องดื่มผสมกัญชาที่ขายในเขตกรุงเทพมหานครฯชั้นใน
  19. พฤติกรรมการใช้กัญชาและผลกระทบจากการใช้กัญชาในเขตบริการสุขภาพในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  20. การตลาดการค้ายาเสพติดในประเทศไทย
  21. สถานศึกษากับนโยบายและมาตรการป้องกันการใช้สารเสพติดของเยาวชนในพื้นที่ชายแดน กรณีศึกษาอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก
  22. บทบาทของนักข่าวพลเมืองบนสื่อสังคมกับการเฝ้าระวังปัญหาการใช้ยาเสพติดของนักเรียนโรงเรียนขนาดเบ็กบนพื้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซีย
  23. พัฒนาโปรแกรมและศึกษาผลของโปรแกรมในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในการคัดกรองความรุนแรงในครอบครัวและการใช้สารเสพติด
  24. ความทุกข์ของผู้ปกครองต่อพฤติกรรมและผลกระทบการติดเกมออนไลน์ของเด็กในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ในจังหวัดชายแดนใต้
  25. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สารเสพติดในแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติในจังหวัดสมุทรสาคร
  26. พลวัตการปรับใช้หลักธรรมคำสอนศาสนาอิสลามเพื่อการป้องปัญหายาเสพติดในโรงเรียน
  27. ปัญหาและอุปสรรคในการเพิ่มบทบาทของภาคประชาชนและการใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลางในการแก้ไขปัญหาสารเสพติดในชุมชน จังหวัดหนองคาย
  28. “Happy jelly”และผลิตภัณฑ์อื่น: การศึกษาสถานการณ์ทางการตลาดผลิตภัณฑ์เสพติดชนิดใหม่ในโซเชียลมีเดีย
  29. เศรษฐกิจการเมืองของยาเสพติดในความขัดแย้งทางด้านชาติพันธุ์
  30. การศึกษาพฤติกรรมและผลกระทบของการใช้กัญชาในกลุ่มแรงงานนอกระบบในจังหวัดชัยภูมิ
  31. การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเพื่อลดช่องว่างแนวทางการดําเนินงานลดอันตรายจากการใช้สารเสพติดในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีการฉีดในประเทศไทย
  32. การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการทำร้ายตนเองของผู้ใช้กัญชาและผู้ไม่ใช้กัญชาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  33. การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเพื่อลดการใช้สารเสพติดในกลุ่มนักเรียนโดยกระบวนการมีส่วนร่วมในจังหวัดเพชรบูรณ์
  34. การพัฒนาและการศึกษาคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัดการติดพนันออนไลน์
  35. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมเสพกัญชาในสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด-19 ของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
  36. ผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ต่อพฤติกรรมการใช้กัญชาของเยาวชนในภาคใต้
  37. การประยุกต์ใช้โปรแกรมการเสริมสร้างความตระหนักต่อผลกระทบการใช้กัญชาของเยาวชนนอกระบบ จังหวัดศรีสะเกษ
  38. การถอดบทเรียนเพื่อศึกษากระบวนการดำเนินงาน การดูแลช่วยเหลือผู้ใช้สารเสพติดในชุมชน การลดอันตรายจากการใช้สารเสพติด และการป้องกันปัญหาเอชไอวี/เอดส์จากกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด
  39. การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างความรู้ เจตคติ และความตระหนักของวัยรุ่นต่อผลกระทบของการใช้สารเสพติดประเภทกัญชา โดยใช้กลไกการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเชิงพื้นที่ อำเภอปัว จังหวัดน่าน