รายงานวิจัย ความชุกของการใช้บุหรี่ไฟฟ้าและความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้กัญชา และการสูบบุหรี่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดเพชรบูรณ์
เมื่อ : 2023-05-16 14:12:17
อ่านแล้ว: 3488 ครั้ง
ชื่อไฟล์ที่สามารถดาวโหลดได้ (คลิกเพื่อดาวน์โหลด)
บุหรี่ไฟฟ้าเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้สารเสพติดอื่นในวัยรุ่น
- บุหรี่ไฟฟ้าเป็นจุดเริ่มต้นของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 9 เท่า
- บุหรี่ไฟฟ้าเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้กัญชา 19 เท่า
- บุหรี่ไฟฟ้าเป็นจุดเริ่มต้นของการสูบบุหรี่ 33 เท่า
การใช้สารเสพติดอื่นเพิ่มความเสี่ยงต่อการใช้บุหรี่ไฟฟ้าในวัยรุ่น
- การสูบบุหรี่ เพิ่มความเสี่ยงต่อการใช้บุหรี่ไฟฟ้า 14 เท่า
- การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพิ่มความเสี่ยงต่อการใช้บุหรี่ไฟฟ้า 9 เท่า
- การเคยใช้กัญชา เพิ่มความเสี่ยงต่อการใช้บุหรี่ไฟฟ้า 3 เท่า
- การใช้บุหรี่ไฟฟ้าของเพื่อนสนิท เพิ่มความเสี่ยงต่อการใช้บุหรี่ไฟฟ้า 5 เท่า
**การรับรู้เกี่ยวกับบุหรี่ไฟฟ้าที่ถูกต้องเป็นปัจจัยป้องกันการใช้บุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 53
ที่มา โครงการความชุกของการใช้บุหรี่ไฟฟ้าและความสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้กัญชา และการสูบบุหรี่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดเพชรบูรณ์
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สอนทน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤมล จันทร์มา
คุณอัมพร สอนทน
บทความที่เกี่ยวข้อง
- โครงการวิจัยเอกสารนโยบายและการจัดการปัญหากัญชาในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศอังกฤษ
- โครงการติดตามความเคลื่อนไหวด้านอุปสงค์ อุปทาน สารเสพติดบนโลกออนไลน์
- โครงการพลังสุขภาพจิตในผู้ติดยาเสพติดหญิงที่อยู่ในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ : การพัฒนาเครื่องมือวัดแบบผสานวิธีวิจัยและประสิทธิผลของการปรึกษาทางจิตวิทยาแบบกลุ่มบูรณาการ
- การสร้างรูปแบบการป้องกันการเสพยาบ้าซ้ำในกลุ่มผู้ผ่านการบำบัดในพื้นที่ที่มีการระบาดของยาบ้า จังหวัดสุโขทัย
- การวิเคราะห์สภาพการณ์ปัจจุบันและอนาคตภาพของปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยภูมิคุ้มกันที่มีต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อการใช้สารเสพติดของเด็กและเยาวชนในพื้นที่หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง (อพป.)
- การประเมินผลการดำเนินงานลดอันตรายจากการใช้สารเสพติด (Harm Reduction) ในกลุ่มประชากรที่เสพยาเสพติดด้วยวิธีการฉีด
- ถอดบทเรียนเพื่อศึกษารูปแบบการเฝ้าระวังการป้องกันปัญหายาเสพติดโดยภาคประชาชน
- รูปแบบการป้องกันปัญหายาเสพติดโดยใช้มัสยิดเป็นศูนย์กลาง : กรณีศึกาชุมชนมัสยิดบ้านเหนือ ต.คูเต่า อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา และชุมชนมัสยิดบ้านลุ่ม ต.ปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
- การพัฒนาชุดโครงการเพื่อพัฒนารวัตกรรมปลอดยาเสพติดด้วยวิถีอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
- ถอดบทเรียนกระบวนการของชุมชนต่อการบำบัด ฟื้นฟู ป้องกัน เยาวชนจากสารเสพติด